2.1.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม
จริยธรรม
1) การปฏิบัติตนตามกรอบระเบียบ
ข้อบังคับของสถาบันและสังคม
2) การแสดงออกถึงการมีวินัยในการเรียน ตรงต่อเวลา
ซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทน สู้งาน
3) การแสดงออกถึงการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพ
ในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4)
การแสดงออกถึงการมีจิตอาสา
และจิตสำนึกสาธารณะ
5) รักและภูมิใจในสถาบัน ท้องถิ่น
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.1.1.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร
เพื่อบ่มเพาะให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สถาบัน และสังคม
เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความซื่อสัตย์สุจริต
2) การวิเคราะห์แบบวิภาษวิธี (Dialectics) ในประเด็นวิกฤตด้านคุณธรรมจริยธรรม ของสังคมและวิชาการ
3)
การเรียนรู้โดยการปฏิสัมพันธ์เชิงปฏิบัติการ (Interactive action learning)
4) การใช้กรณีศึกษา (Case study)
5)
มีการจัดกิจกรรมสำหรับพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม และการมีจิต อาสา
2.1.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1)
วัดและประเมินจากผลการวิเคราะห์วิภาษวิธี
2)
วัดและประเมินจากกลุ่มเพื่อน
3)
วัดและประเมินจากผลงานกรณีศึกษา
4)
วัดและประเมินจากผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการมี จิตอาสา
2.1.2 ด้านความรู้
2.1.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
1)
การแสดงออกถึงความสามารถในการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้
2)
การแสดงออกถึงความสามารถในการบูรณาการความรู้ และการประยุกต์ความรู้
3)
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของหมวด วิชาศึกษาทั่วไป
2.1.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
โดยให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
สามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้
บูรณาการความรู้
และประยุกต์ใช้ความรู้ตามหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา โดยใช้กลวิธีการสอนที่หลากหลายที่ผู้เรียนสนใจ
เพื่อการเรียนรู้ร่วมกันของกลุ่มการบรรยายร่วมกับการอภิปราย การค้นคว้า กรณีศึกษา
ตลอดจนนำเสนอประเด็น
2.1.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
ประเมินด้วยวิธีการที่หลากหลาย
เพื่อให้ครอบคลุมการประเมินด้านความรู้ ดังนี้
1) การทดสอบย่อย
2)
ทดสอบกลางภาคเรียน ปลายภาคเรียน
3) ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้า
4) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.1.3
ด้านทักษะทางปัญญา
2.1.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
1)
สามารถใช้ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ คิดเชิงเหตุผล และคิด เชิงบูรณาการในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เพื่อสร้างประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้
2.1.3.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหา
ทั้งระดับบุคคลและกลุ่มในสถานการณ์ทั่วไป โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น
การอภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษา การโต้วาที การจัดทำโครงการ และการใช้เกมส์
เป็นต้น
2.1.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
การประเมิน
เป็นการวัดและการประเมินทักษะการคิด และการแก้ไขปัญหา เช่น
1) การสอบวัดความสามารถในการคิดและแก้ไขปัญหาโดยใช้กรณีศึกษา
2)
การประเมินจากผลงานที่เกิดจากการใช้กระบวนการแก้ไขปัญหา การศึกษา ค้นคว้าอย่างเป็นระบบ
การวิเคราะห์วิจารณ์ เช่น รายงานการวิเคราะห์วิจารณ์ กรณีศึกษา
การศึกษาอิสระ รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม การประชุมปรึกษา ปัญหาและการสัมมนา
2.1.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.1.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1)
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่ม
2)
มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเอง ทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อ สังคม
3) แสดงออกถึงการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในสังคมพหุวัฒนธรรม
2.1.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
นักศึกษาต้องมีความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับบุคคล
และสังคม ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนต้องจัดการเรียนการสอนดังนี้
1) กลยุทธ์การสอนที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน
ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับสังคม
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการทำงานเป็นทีม
เพื่อส่งเสริมการแสดง บทบาทของการเป็นผู้นำและผู้ตาม
3) จัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีความรับผิดชอบ
ปฏิสัมพันธ์ที่ดีในสังคมพหุ วัฒนธรรม
2.1.4.3
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1)
การประเมินความสามารถในการทำงานร่วมกับกลุ่มเพื่อน และกลุ่มทำงานอย่าง มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
2) การประเมินผู้เรียนในการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำและผู้ตามในสถานการณ์ การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
3)
ประเมินผลจากการจัดกิจกรรมและการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2.1.5
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
1)
การแสดงออกถึงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
2)
การแสดงออกถึงความสามารถในการติดต่อสื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีได้อย่าง
เหมาะสม
3) การแสดงออกถึงความสามารถในการวิเคราะห์ตัวเลข
แปรผลและนำเสนอข้อมูล ได้อย่างเหมาะสม
และใช้เป็นพื้นฐานการแก้ปัญหาและการตัดสินใจใน ชีวิตประจำวัน
4)
แสดงออกถึงการมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ แสวงหาความรู้
2.1.5.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1)
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสื่อสารระหว่าง
บุคคลทั้งการพูด
การฟัง และการเขียนในกลุ่มผู้เรียน ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2)
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เลือกและใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ
3)
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือก สารสนเทศและฝึกทักษะการนำเสนอข้อสนเทศด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับผู้ฟัง และเนื้อหาที่นำเสนอ
2.1.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1)
การประเมินผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบสังเกต และแบบ ประเมินทักษะการพูด
การเขียน
2)
การทดสอบทักษะการฟังจากแบบทดสอบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
3) การทดสอบการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ข้อสอบ
การทำรายงาน และการวิเคราะห์ข้อมูลผลการ ศึกษาวิจัย การศึกษาอิสระ
2.2 หมวดวิชาเฉพาะด้าน
2.2.1 ด้านคุณธรรม
จริยธรรม
2.2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม
จริยธรรม
1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ
และซื่อสัตย์สุจริต
2) มีวินัย ตรงต่อเวลา
และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของความเป็นมนุษย์
5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
ขององค์กรและสังคม
6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล
องค์กรและสังคม
7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
2.2.1.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) กำหนดวัฒนธรรมองค์กร
เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้น การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย
นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สถาบัน และสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมีความ
เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต
2) สามารถวิเคราะห์ในประเด็นวิกฤตด้านคุณธรรมจริยธรรมของสังคมและวิชาการ ทั้งประเด็นวิกฤตของจรรยาบรรณวิชาชีพ
3) สอดแทรกเรื่องการเคารพในสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาและของผู้อื่น
และตระหนัก ถึงผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ที่มีต่อสังคม และส่วน รวมในการสอนทุกรายวิชา
4) มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น
การยกย่องนักศึกษาที่ทำความ ดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม
2.2.1.3
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) ประเมินจากการตรงเวลา
การแต่งกายของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
การมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
และ ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
3) ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึกษา
2.2.2 ด้านความรู้
2.2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา ที่ศึกษา
2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้
ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
3) ความสามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง
ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง
ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
4) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์
รวมทั้ง การนำไปประยุกต์
5) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้
ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
6) มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง
และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง
7) มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง
8) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษา กับความรู้ในศาสตร์อื่น
ๆ ที่ เกี่ยวข้อง
2.2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
1) ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ เน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง เป็นไปตามลักษณะของรายวิชานั้น ๆ
2) เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน
3) เชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากร
4) เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
2.2.2.3
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
1) การทดสอบย่อย สอบกลางภาคการศึกษาและปลายภาคศึกษา
2) ประเมินจากแบบฝึกหัด รายงาน ชิ้นงาน และ/หรือโครงงานหรืองานวิจัย การ นำเสนอในชั้นเรียน
3) ประเมินจากรายวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
หรือสหกิจศึกษา
4) ประเมินจากการทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร
2.2.3
ด้านทักษะทางปัญญา
2.2.3.1
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
1) คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2) สามารถสืบค้น ตีความ
และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่าง สร้างสรรค์
3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์
และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
4) สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง เหมาะสม
2.2.3.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
1) ให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะ
และการปฏิบัติจริง
2) จัดทำโครงการ หรือกรณีศึกษาประยุกต์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
3) การอภิปรายกลุ่ม
4) การเข้าร่วมกิจกรรมอบรมปฏิบัติการที่สัมพันธ์กับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป็นราย ปีตลอดหลักสูตร
2.2.3.3
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
1) ประเมินผลการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ
2) ประเมินจากผลงาน การนำเสนอ และการปฏิบัติของนักศึกษา
3) ประเมินจากผลแนวคิดของการแก้ปัญหา
และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ ความรู้ที่เรียนมา
4) ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมปฏิบัติการที่สัมพันธ์กับความรู้ทาง เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นรายปีตลอดหลักสูตร
2.2.4
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.2.4.1
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ
หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
3) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
5) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
6) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่าง
ต่อเนื่อง
2.2.4.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1)
การสอนที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับ สังคม
2)
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมการแสดง บทบาทของการเป็นผู้นำและผู้ตาม
3)
จัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีความรับผิดชอบ มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ในสังคม
พหุวัฒนธรรม
2.2.4.3
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) ประเมินความสามารถในการทำงานร่วมกับกลุ่มเพื่อน และกลุ่มงานอย่างมี ประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
2) ประเมินจากผู้เรียนในการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำและผู้ตามในสถานการณ์ การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
3) ประเมินผลจากการจัดกิจกรรมและการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2.2.5
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.5.1
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1)
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์
2) สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือ การแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน
พร้อมทั้งเลือกใช้ รูปแบบของสื่อการนำเสนอได้อย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
2.2.5.2
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการสื่อสารระหว่าง บุคคลทั้งการพูด การฟัง
และการเขียนในกลุ่มผู้เรียน ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เลือกและใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ
3) การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการ สืบค้นบทความทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่น่าสนใจ
ทำความเข้าใจ และนำเสนอ ได้อย่างเหมาะสม
2.2.5.3
กลยุทธ์ที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การประเมินผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบสังเกต และแบบ ประเมินทักษะการพูด
การเขียน
2) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี
การเลือกใช้เครื่องมือทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ
คณิตศาสตร์ และสถิติที่เกี่ยวข้อง
3) ประเมินจากรายงาน และการนำเสนอในชั้นเรียน
3.
การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum
Mapping)
แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ใดบ้าง
(ตามที่ระบุไว้ในหมวดที่ 4
ข้อ 2)
โดยระบุเป็นความรับผิดชอบหลักหรือรับผิดชอบรอง
3.1 การกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ผลการเรียนรู้ในตารางมีความหมายดังนี้
3.1.1
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1) การปฏิบัติตนตามกรอบระเบียบ
ข้อบังคับของสถาบัน และสังคม
2) การแสดงออกถึงการมีวินัยในการเรียน
ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทน และสู้งาน
3) การแสดงออกถึงการเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4) การแสดงออกถึงการมีจิตอาสา และจิตสำนึกสาธารณะ
5) รักและภูมิใจในสถาบัน ท้องถิ่น มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.1.2
ด้านความรู้
1) การแสดงออกถึงความสามารถในการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้
2) การแสดงออกถึงความสามารถในการบูรณาการความรู้
และการประยุกต์ความรู้
3) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของหมวด วิชาศึกษาทั่วไป
3.1.3
ด้านทักษะทางปัญญา
1)
สามารถใช้ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
คิดวิเคราะห์ คิดเชิงเหตุผล และคิด เชิงบูรณาการ
ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2)
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อสร้างประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้
3.1.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่ม
2) มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเอง
ทั้งต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อ สังคม
3) แสดงออกถึงการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีในสังคมพหุวัฒนธรรม
3.1.5
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) การแสดงออกถึงความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
2) การแสดงออกถึงความสามารถในการติดต่อสื่อสาร โดยใช้เทคโนโลยีได้อย่าง เหมาะสม
3) การแสดงออกถึงความสามารถในการวิเคราะห์ตัวเลข แปรผล
และนำเสนอ ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
และใช้เป็นพื้นฐานแก้ปัญหาและการตัดสินใจใน
ชีวิตประจำวัน
4) การแสดงออกถึงการมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
เพื่อ การแสวงหาความรู้
0 comments:
แสดงความคิดเห็น